-- เลือกสาขา --
เครือโรงพยาบาลเกษมราษฎร์
เกษมราษฎร์ ประชาชื่น
เกษมราษฎร์ บางแค
เกษมราษฎร์ ฉะเชิงเทรา
เกษมราษฎร์ สระบุรี
เกษมราษฎร์ ศรีบุรินทร์
เกษมราษฎร์ รัตนาธิเบศร์
เกษมราษฎร์ รามคำแหง
เกษมราษฎร์ ปราจีนบุรี
เกษมราษฎร์ ศูนย์ศัลยกรรมตกแต่ง
เกษมราษฎร์ อินเตอร์ฯ รัตนาธิเบศร์
เกษมราษฎร์ อินเตอร์ฯ อรัญประเทศ
เครือโรงพยาบาล
เกษมราษฎร์
เกษมราษฎร์
ประชาชื่น
เกษมราษฎร์
บางแค
เกษมราษฎร์
สระบุรี
เกษมราษฎร์
ศรีบุรินทร์
เกษมราษฎร์
ฉะเชิงเทรา
เกษมราษฎร์
รัตนาธิเบศร์
เกษมราษฎร์
รามคำแหง
เกษมราษฎร์
ปราจีนบุรี
เกษมราษฎร์อินเตอร์ฯ
อรัญประเทศ
เกษมราษฎร์อินเตอร์ฯ
รัตนาธิเบศร์
เกษมราษฎร์
ศูนย์ศัลยกรรมตกแต่ง
หน้าหลัก
เกี่ยวกับเรา
ผู้บริหาร
สาส์นจากประธานกรรมการ
สาส์นจากผู้อำนวยการโรงพยาบาล
ประวัติโรงพยาบาล
วิสัยทัศน์และพันธกิจ
รางวัลแห่งความสำเร็จ
กลุ่มลูกค้าประกันชีวิต
ศูนย์บริการทางการแพทย์
แผนกกุมารเวชกรรมทั่วไป
แผนกอายุรกรรม
รังสีวิทยาทั่วไป
แผนกกระดูกและข้อ
แผนกสูตินรีเวชกรรม
ศัลยกรรมทั่วไปอุบัติเหตุ
คลินิคตรวจสุขภาพ
วิสัญญี
จักษุวิทยา
ทันตกรรม
เวชปฏิบัติ-ทั่วไป
ค้นหาแพทย์
แพทย์ประจำ แผนกกุมารเวชกรรมทั่วไป
แพทย์ประจำ แผนกอายุรกรรม
แพทย์ประจำ รังสีวิทยาทั่วไป
แพทย์ประจำ แผนกกระดูกและข้อ
แพทย์ประจำ แผนกสูตินรีเวชกรรม
แพทย์ประจำ ศัลยกรรมทั่วไปอุบัติเหตุ
แพทย์ประจำ คลินิคตรวจสุขภาพ
แพทย์ประจำ วิสัญญี
แพทย์ประจำ จักษุวิทยา
แพทย์ประจำ ทันตกรรม
แพทย์ประจำ เวชปฏิบัติ-ทั่วไป
แพ็คเกจ&โปรโมชั่น
แพ็คเกจ&โปรโมชั่น แผนกกุมารเวชกรรมทั่วไป
แพ็คเกจ&โปรโมชั่น แผนกอายุรกรรม
แพ็คเกจ&โปรโมชั่น รังสีวิทยาทั่วไป
แพ็คเกจ&โปรโมชั่น แผนกกระดูกและข้อ
แพ็คเกจ&โปรโมชั่น แผนกสูตินรีเวชกรรม
แพ็คเกจ&โปรโมชั่น ศัลยกรรมทั่วไปอุบัติเหตุ
แพ็คเกจ&โปรโมชั่น คลินิคตรวจสุขภาพ
แพ็คเกจ&โปรโมชั่น วิสัญญี
แพ็คเกจ&โปรโมชั่น จักษุวิทยา
แพ็คเกจ&โปรโมชั่น ทันตกรรม
แพ็คเกจ&โปรโมชั่น เวชปฏิบัติ-ทั่วไป
บทความ
บทความเพื่อสุขภาพ
บทความวิชาการ
บริการของเรา
ข่าวสาร
ข่าวสารทั่วไป
ข่าวสารภายในองค์กร
ติดต่อ⁄สมัครงาน⁄แผนที่
บทความเพื่อสุขภาพ
ค้นหาบทความ
-- เลือกเดือน --
มกราคม
กุมภาพันธ์
มีนาคม
เมษายน
พฤษภาคม
มิถุนายน
กรกฎาคม
สิงหาคม
กันยายน
ตุลาคม
พฤศจิกายน
ธันวาคม
-- เลือกปี --
2568
2567
2566
วงจรชีวิตของเชื้อมาลาเรีย
วงจรชีวิตของเชื้อมาลาเรีย
วงจรชีวิตของเชื้อมาลาเรีย
เชื้อ มาลาเรียในคนทั้ง 4 ชนิดมีวงจรชีวิตของการเจริญที่คล้ายคลึงกัน คือมีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศในยุงก้นปล่องตัวเมีย และมีการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ ในเซลล์ตับและเม็ดเลือดแดงของคน จะมีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อยที่ช่วงระยะที่เชื้อใช้ในการเจริญเติบโตแต่ ละระยะ ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอนดังนี้
1. เชื้อมาลาเรียระยะผสมพันธุ์ เป็นขั้นตอนที่เกิดขึ้นภายในยุงก้นปล่อง โดยเริ่มจากที่ยุงก้นปล่องเพศเมียกัดและดูดเลือดผู้ป่วยที่เป็นไข้มาลาเรีย เชื้อมาลาเรียที่ประกอบด้วยระยะมีเพศและไม่มีเพศก็จะเข้าไปในกระเพาะอาหาร ของยุง เชื้อระยะไม่มีเพศถูกย่อยสลายไปพร้อมกับเม็ดเลือดแดงซึ่งเป็นอาหารของยุง ส่วนเชื้อมาลาเรียระยะมีเพศ ทั้งเพศผู้และเพศเมีย จะไม่ถูกย่อย แต่เชื้อเพศผู้จะเจริญเติบโตและสามารถเคลื่อนที่ได้ เมื่อพบกับเซลล์สืบพันธุ์ตัวเมียจะปฏิสนธิ ผลที่ได้คือตัวอ่อน(zygote) กระบวนการดังกล่าวใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมงและเกิดภายในกระเพาะอาหารของยุง หลังจากนั้นตัวอ่อนจะเปลี่ยนแปลงรูปร่างให้เรียวแหลมขึ้น เพื่อพร้อมจะเคลื่อนที่แทรกผ่านผนังกระเพาะของยุง มาอยู่เยื่อหุ้มผนังกระเพาะระหว่างผนังชั้นนอกกับผนังชั้นใน
2. การแบ่งตัวแบบไม่มีเพศ เป็นขั้นตอนต่อจากขั้นที่หนึ่ง ภายในตัวอ่อนของเชื้อมาลาเรียจะแบ่งตัวเป็นรูปร่างคล้ายเข็มปลายแหลม เรียกว่าสปอโรซอยต์ (sporozoites) มีนิวเคลียสอยู่ตรงกลางมีการเจริญเติบโตเพิ่มขนาดและมีจำนวนมากขึ้น จากนั้นผนังเชื้อมาลาเรียแตกออก สปอโรซอยต์เคลื่อนสู่ช่องว่างภายในลำตัวของยุง และเข้าสู่ต่อมน้ำลายของยุง ซึ่งในช่วงนี้อาจมีสปอโรซอยต์บางตัวเคลื่อนผิดทิศทางคือไปสู่เนื้อเยื่อบาง ส่วนของยุง ซึ่งจะถูกทำลายด้วยกระบวนการย่อยสลายในตัวยุงเอง เชื้อระยะนี้อยู่ในต่อมน้ำลายยุงและมีอายุได้นานถึง 59 วัน แต่ความสามารถในการติดเชื้อจะลดลง ระยะเวลาที่ใช้ในการเจริญเติบโตขั้นที่ 1 และ 2 ภายในตัวยุงที่เป็นพาหะแตกต่างกันออกไป ขึ้นกับชนิดของยุง อุณหภูมิ และสภาพภูมิอากาศ โดยเฉลี่ยจะอยู่ประมาณ 8-35 วัน
3. ระยะในตับ เป็นระยะที่เชื้อมาลาเรียเจริญในคน เมื่อยุงที่มีเชื้อมาลาเรียในระยะสปอโรซอยต์ มากัดคนก็จะปล่อยเชื้อระยะดังกล่าวเข้าสู่กระแสโลหิต และสปอโรซอยต์เข้าสู่เซลล์ตับ (โดยกระบวนการที่ยังไม่แน่ชัด) มีการเพิ่มขนาดโดยการแบ่งตัวเพิ่มจำนวนขึ้นเรื่อยๆ มีขนาดโตขึ้นจำนวนหลายพันตัว ทั้งนี้ สปอโรซอยต์ของเชื้อมาลาเรียชนิดไวแวกซ์ (P. vivax) และชนิดโอวาเล่ (P. ovale) บางส่วนเมื่อเข้าสู่เซลล์ตับแล้วจะมีการหยุดพักการเจริญชั่วขณะ ระยะเวลาที่หยุดพักนี้แตกต่างกันไปตามสายพันธุ์และชนิดของมาลาเรีย เชื้อระยะหยุดพักนี้เป็นสาเหตุของการเกิดอาการไข้กลับ (relapse) ในผู้ป่วยมาลาเรีย ภายหลังได้ และเรียกเชื้อมาลาเรียระยะนี้ว่า ฮิบโนซอยต์ (hypnozoite)
4. เชื้อมาลาเรียระยะอยู่ในเม็ดเลือดแดง เป็นระยะที่เชื้อมาลาเรียมีการเจริญแบ่งตัวเพิ่มจำนวนในเม็ดเลือดแดงของคน โดยเริ่มจากการแตกออกจากเซลล์ตับ มาเป็นอิสระภายนอกชั่วระยะสั้นๆ แล้วเข้าสู่เม็ดเลือดแดง โดยการเคลื่อนที่เข้าไปเกาะติดเม็ดเลือดแดง แล้วเคลื่อนตัวเข้าสู่เม็ดเลือดแดง หลังจากที่เข้าสู่เม็ดเลือดแดงแล้ว เชื้อมาลาเรียจะเจริญแบ่งตัวเพิ่มจำนวน และสามารถตรวจหาเชื้อมาลาเรียในโลหิตของผู้ป่วยได้ในระยะนี้
ขอบคุณแหล่งข้อมูล : สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข